วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 13
วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2559
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้น คั่น สวย ๆ น่า รัก ๆ
เนื้อหาที่เรียนความรู้ที่ได้รับ

     -  กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษานั่งเป็นวงกลม อาจารย์พาร้องเพลงและให้นักศึกษาทำท่าประกอบตามเพลงรำวงไปเรื่อยๆ พอเพลงหยุดอาจารย์สั่งให้จับกลุ่ม ตามจำนวนที่อาจารย์บอกและทำกิจกรรมต่อไป




      -  อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มของตนเองพร้อมทั้งแจกกระดาษเอสี่ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มโดยให้ช่วยกันระดมความคิดแต่งนิทาน 1 เรื่อง โดยในนิทานนั้นจะต้องมีสิ่งที่ไม่มีชีวิตสามารถพูดได้  

กลุ่มที่ 1 เรื่อง ฉันอยากเดินได้




กลุ่มที่ 2 เรื่อง ยีราฟผู้กระหายน้ำ



กลุ่มที่ 3 เรื่อง ป่ามหัศจรรย์

 




กลุ่มที่ 4 เรื่อง เพื่อนรัก





 กลุ่มที่ 5 เรื่อง เจ้าหญิงกบ




     - กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้นักศึกษายืนเป็นวงกลมพร้อมทั้งรำวงไปเรื่อย ๆ เพื่อจับกลุ่มใหม่ โดยแต่ละคนห้ามอยู่กับเพื่อนกลุ่มเดิมและเริ่มทำกิจกรรมต่อมา
 
กลุ่มที่ 1  เพลง บ้านของฉัน



กลุ่มที่ 2 เพลง ขอใจแลกเบอร์โทร




กลุ่มที่ 3  เพลง โอ้ทะเลแสนงาม



กลุ่มที่ 4  เพลง อาบน้ำซู่ซ่า


กลุ่มที่ 5 เพลง นกกระจิ๊บ 



ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและสนุกกับกิจกรรม

ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียน ทุกคนสนุกกับกิจกรรมที่ทำเป็นอย่างมาก

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น






การบันทึกครั้งที่ 12
วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2559
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้น คั่น สวย ๆ น่า รัก ๆ

เนื้อหาที่เรียนความรู้ที่ได้รับ

  • การจินตนาการ คือ การเทียบเคียงในสิ่งที่เราเห็น
  • ความคิดสร้างสรรค์ทางภาษา เมื่อ เด็กรู้คำศัพท์เยอะก็จะเป็นต้นทุนสำหรับเด็กเยอะ
  • ความคิดสร้างสรรค์ตามความเคลื่อนไหว เช่น การเต้นแอโรบิค คือ การใช้เพลงเป็นจังหวะ การเต้นประกอบเพลง คือ การใช้ท่าทางตามจินตนาการ เช่น การเล่าเรื่องราว แสดงท่าทางตามคำบรรยาย
-  การเคลื่อนไหวมี 2 แบบ คือ เคลื่อนที่ และ ไม่เคลื่อนที่หรืออยู่กับที่
  • เคลื่อนที่  คือ มีอุปกรณ์ กับ ไม่มีอุปกรณ์
  • ไม่เคลื่อนที่หรืออยู่กับที่  คือ มีอุปกรณ์ กับ ไม่มีอุปกรณ์    
วัตถุประสงค์ของความคิดสร้างสรรค์ในการเคลื่อนไหวและจังหวะ
  • เคลื่อไหวประกอบเพลง
  • เคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
  • เคลื่อนไหวตามคำสั่ง
  • เคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม
  • เคลื่อนไหวตามข้อตกลง
  • เคลื่อนไหวตามความจำ
* ถ้าอยากมีความคิดสร้างสรรค์ต้องหาประสบการณ์ฝึกทำฝึกอ่าน

- องค์ประกอบของการเคลื่อนไหว
  • ระดับ,ทิศทาง,พื้นที่,ส่วนต่างๆของร่างกาย
วิธีการสอนของแต่ละกลุ่ม

กลุ่มที่ 1 การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง



กลุ่มที่ 2 การเคลื่อนไหวประกอบเพลง



กลุ่มที่ 3 การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม



กลุ่มที่ 4 การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย





กลุ่มที่ 5 การเคลื่อนไหวตามความจำ



กลุ่มที่ 6 การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง



รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและสนุกกับกิจกรรม

ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียน ทุกคนสนุกกับกิจกรรมที่ทำเป็นอย่างมาก

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้น คั่น สวย ๆ น่า รัก ๆ

วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 11
วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่นวินเทจ

เนื้อหาที่เรียนความรู้ที่ได้รับ



     - กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของตนเอง





   1. โฮโรแกรมสามมิติ ( อาฟง )




2. เตาอบป๊อบคอร์น  ( เบียร์ )


3. รถขับเคลื่อนด้วยหนังยาง ( นัตตี้ )


4. เตาปิ้งแบบพกพา  ( แตงโม )


5. โคมไฟจากขวดน้ำกับช้อน  ( อันเม )


6. อ่างล้างจาน  ( แอม )


7. เตาแก๊ส  ( เค้ก )


8. หมวกจากกล่องนม ( มุก )


9. กระเป๋าจากกล่องนม ( มาย )


10. เครื่องคิดเลข  ( อันชัน )


11. ถังขยะจากขวดน้ำ ( เปิ้ล )


12. เสื่อจากกล่องนม  ( แอ๋ม )


13. บัวรดน้ำจากกระป๋อง  ( ต้นส้ม )


14. กล่องดินสอจากขวดพลาสติก  ( ดาวค้างฟ้า )


15. โต๊ะเขียนหนังสือ  ( จ๊ะเอ๋ )


16. ลิ้นชัก  ( อุ้ม ) 


17. กระเป๋าจากกล่อง  ( เป้ )


18. รอยเชือกรองเท้า  ( อ้อน )


19. ที่เช็ดรองเท้า  ( หญิง )


20. ฝาชีจากก้นขวดน้ำ  ( แคท )


21. ที่คาดผมจากฝาปิดกระป๋อง  ( เมโก๊ะ )


22. เครสโทรศัพท์จากกระป๋อง  ( แพร )


23. ตู้เย็นจากขวดน้ำ  ( ปลา )

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่นวินเทจ

     - กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้ตั้งประเด็นปัญหาจากสิ่งที่เราประดิษฐ์
  • ถ้าเราอยากให้เด็กมีประสบการณ์ประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือเราจะทำอะไรได้บ้างจากวัสดุเหลือใช้
การตั้งประเด็นปัญหา มี 2 แบบคือ


1. ตั้งปัญหา 


2. ตั้งเป้าหมาย 

    - กิจกรรมสุดท้ายของวันนี้คือ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มตัวเลขให้เสร็จ เพื่อเตรียมตัวส่งในสัปดาห์หน้า










ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่นวินเทจ

ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและสนุกกับกิจกรรม

ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียน ทุกคนสนุกกับกิจกรรมที่ทำเป็นอย่างมาก

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เส้นคั่นวินเทจ